กลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคาร ช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายต่อถึงเหตุผลว่าด้วยกลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้กันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ หากจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้เราต้องย้อนกลับไปที่เรื่องกลศาสตร์ของไหล (MECHANICS OF FLUID) นะครับซึ่งจะมีความละเอียดและซับซ้อนพอสมควรนะครับ ผมจึงจะขออนุญาตทำการอธิบายแต่เพียงสังเขปก็แล้วกันนะครับ สาเหตุหลักๆ … Read More
จะต่อเติม หลังบ้าน ทำห้องครัวใหม่ ทางเข้าแคบมาก ที่ตอกก็แคบ จะตอกเสาเข็มได้ไหมคะ?
จะต่อเติม หลังบ้าน ทำห้องครัวใหม่ ทางเข้าแคบมาก ที่ตอกก็แคบ จะตอกเสาเข็มได้ไหมคะ? ตอกได้ครับ เราตอกได้ทุกพื้นที่ โทรปรึกษาเราได้ ที่ สายด่วน เพราะเราคือผู้เชี่ยวชาญด้านฐานรากสำหรับงานต่อเติม และเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ของ BSP-Bhumisiam รองรับงานด่วน งานเร่ง … Read More
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (REINFORCED CONCRETE COLUMNS)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Columns) จะเป็นตัวรับน้ำหนักของอาคาร โดยตัวอาคารจะถ่ายน้ำหนักมาลงที่เสาในแนวดิ่ง และในบางครั้งอาจจะต้องรับโมเมนต์ดัดด้วย ซึ่งเสาจะมีรูปแบบและข้อกำหนดที่แตกต่างกันไป ในการพิจารณาออกแบบเสาจะต้องพิจารณาถึงการรับแรงของเสาและลักษณะปลายยึดของหัวเสาด้วย ลักษณะของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถแบ่งโดยสังเขปเป็น 2 ประเภท ดังนี้ แบ่งตามลักษณะของแรงที่มากระทำ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ เสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่รับแรงตามแนวศูนย์กลางแกนเสา … Read More
งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายแก่เพื่อนๆ รวมถึงรุ่นน้องท่านหนึ่งที่กำลังจะทำงานวิจัยในระดับ ป ตรี ส่งทางภาควิชาเพื่อที่จะจบและสำเร็จการศึกษา เพราะ น้องเค้าตั้งใจอยากที่จะทำทางด้าน งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม จากที่ผมได้คุยกันกับน้องท่านนี้ไปเมื่อหลายวันก่อนที่น้องปรึกษาพี่เรื่องการออกแบบระบบกำแพงกันดินโดยใช้วิธีการตอกเสาเข็ม และ ทำการสอดแผ่นสำเร็จรูปเพื่อที่จะทำหน้าที่ถ่ายแรงกระทำทางด้านข้างจากมวลดิน รวมไปถึง นน SURCHARGE ต่างๆ ให้เข้าไปที่ตัวของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งผมได้อธิบายกับน้องท่านนี้ไปว่าสำหรับกรณีการรับ นน ของเสาเข็มแบบนี้จะเป็นการรับแรงกระทำทางด้านข้าง จะมิใช่การรับรับแรงกระทำตามแนวแกนเหมือนที่น้องเคยเรียนมาในวิชา … Read More