บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

รถไฟฟ้าสายสีเขียว เลือกใช้ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ ข่าวไทยโพสต์

รถไฟฟ้าสายสีเขียว เลือกใช้ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ ข่าวไทยโพสต์ นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 5 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับผู้บริหารและทีมวิศวกรจากบริษัทชั้นนำในวงการก่อสร้าง ได้แก่ อิตาเลี่ยนไทย ปูนซิเมนต์ไทย … Read More

การคำนวณ การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มสั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของแฟนเพจที่ได้ฝากเอาไว้ที่ว่า “เหตุใดผมจึงมักที่จะพูดอยู่บ่อยๆ ว่าในการที่เราจะทราบความสามารถในการรับ นน ของเสาเข็มที่แน่นอนนั้นเราจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะสำรวจดินเสียก่อน แต่ เวลาจะใช้งานพวกเสาเข็มทั่วๆ ไป หรือ เสาเข็มสั้น เค้ามักจะมีคำพูดพ่วงท้ายมาเลยว่าเสาเข้มต้นนั้นๆ จะสามารถรับ นน ปลอดภัยได้เท่ากับค่านั้นค่านี้ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ?” ก่อนอื่นเลยผมต้องขอชมเชยคนถามก่อนนะครับ แสดงว่าคนถามคำถามข้อนี้เป็นคนช่างสังเกตคนหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ใช่วิศวกรก็ตาม … Read More

ตอกเสาเข็มในโรงงานอุตสาหกรรมพื้นที่จำกัดแนะนำ เข็มไมโครไพล์ SPUN MICROPILE

ตอกเสาเข็มในโรงงานอุตสาหกรรมพื้นที่จำกัดแนะนำ เข็มไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ด้วยปั้นจั่นเข้าได้ในพื้นที่จำกัด การรับน้ำหนักที่ได้มาตรฐานตามหลักวิศวกรรม วิศวะกรต่าง มั่นใจเลือกเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ทดสอบโดย Dynamic … Read More

ฐานรากแผ่(ต่อ)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สำหรับในโพสต์ล่าสุดของผมเกี่ยวกับเรื่องฐานรากแผ่นั้น ในตอนแรกผมตั้งใจที่จะโพสต์ๆ นั้นเป็นโพสต์สุดท้ายสำหรับช่วงเวลานี้ แต่ พอโพสต์ไปแล้วก็ได้รับผลตอบรับที่ค่อนข้างดี และ ได้มีคำถามต่อเนื่องตามมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ นี้ผมจึงอยากที่จะขอโพสต์ต่อเนื่องเกี่ยวกับฐานรากแผ่ไปก่อนนะครับ ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบคำถามให้แก่เพื่อนวิศวกรที่ได้ถามผมมานั่นเองนะครับ คำถามที่เพื่อนวิศวกรได้สอบถามผมต่อเนื่องมาจากโพสต์ของเมื่อวาน คือ หากเราจะทำการก่อสร้างฐานรากแผ่วางบนดินในบริเวณที่ลาดเชิงเขาซึ่งหมายความว่าลักษณะของชั้นดินจะไม่ใช่เป็นแนวระดับในแนวราบเหมือนกรณีทั่วๆ ไปของการทำฐานรากแผ่นะครับ ในการก่อสร้างฐานรากแผ่วางตัวอยู่บนแนวพื้นที่มีความเอียงลาดนั้น ฐานรากตัวริมที่จะติดกับพื้นที่ลาดเอียงนั้น เราจะต้องตรวจสอบดูว่าระยะจากขอบนอกสุดส่วนบนของฐานราก (ระยะ V … Read More

1 2 3 4 169