ระยะการยุบตัว หรือ Slump
ระยะการยุบตัว หรือ Slump ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล ? เพื่อนๆ ต้องไม่ลืมว่าในโครงสร้าง คสล นั้นนอกจาก คอนกรีต แล้วยังมี เหล็ก เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบที่มีเหล็กเสริมอยู่ เราจึงต้องมั่นใจได้ว่า คุณสมบัติของวัสดุทั้งสองเมื่อรวมกันแล้วจะต้องไม่ทำให้โครงสร้างนั้นอ่อนแอลง … Read More
สร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง ป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง
สร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง ป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ในการก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มโครงการ ตลอดจนโครงการสร้างเสร็จ เรามักจะพบปัญหาที่ตามมาอยู่บ่อย ๆ สาเหตุอาจเกิดขึ้นได้หลายปัจจัย แต่สาเหตุหลัก ๆ แล้ว คือการออกแบบฐานรากที่ไม่มั่นคง เสาเข็มที่ใช้ไม่สามารถแบกรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้ จึงทำให้โครงสร้างเกิดการทรุดตัวลง และมีรอยแตกร้าวเกิดขึ้นหลังจากสร้างเสร็จ ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นทำให้เกิดความสายหาย คือผู้รับเหมาส่งงานล่าช้า และอาจจะไม่ได้รับความไว้วางใจจากเจ้าของโครงการ เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นเสาเขมที่ควรใช้ต้องได้รับมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง … Read More
การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) นะครับ เนื่องจากมีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามาที่หลังไมค์เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ว่า “ที่ตำแหน่งของ จุดต่อ แบบยึดหมุนที่สามารถเคลื่อนทีได้ในแนวดิ่ง (VERTICAL … Read More
แนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบในเรื่องรูปแบบของเสียรูปที่เกิดขึ้นในโครงสร้างแปแบบ หน้าตัดแบบปิด และ หน้าตัดแบบเปิด ที่เกิดจากการวางน้ำหนักบรรทุกให้ “ไม่มี” การเยื้องศูนย์และ “มี” การเยื้องศูนย์ออกไปจากแนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัดเพิ่มเติมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ โดยที่ผมจะอาศัยรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ซึ่งน่าจะช่วยทำให้เพื่อนๆ ทุกคนๆ … Read More