บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ … Read More

SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหน้าข้างบ้าน … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งเกร็งของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอาทิตย์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะมาพูดคุยและเสวนากันถึงคำตอบในหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่เมื่อวานนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับ ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม และก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   หากผมมีโครงสร้างเสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่มีรูปทรงเป็นหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดความกว้างและความลึกของหน้าตัดเท่ากับ 230 มม โดยที่เสาเข็มต้นนี้ใช้คอนกรีตที่มีกำลังอัดประลัยของคอนกรีตตัวอย่างรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 … Read More

การนำข้อมูลจากผลการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน      วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันที่ 2 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงต้นๆ ของการโพสต์ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาเริ่มต้นอธิบายถึงขั้นตอนในการเจาะสำรวจดินให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ ในการทดสอบคุณสมบัติของชั้นดินนั้นวิศวกรผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องทำการกำหนดรายละเอียดของการสำรวจดินอย่างชัดเจนว่ามีรายละเอียดเป็นเช่นไร เช่น จะทำการเจาะทั้งหมดกี่หลุม … Read More

1 98 99 100 101 102 103 104 169