การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน
การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน เสาเข็มถือเป็นวัสดุที่ใช้กันแพร่หลายมากในนการรับน้ำหนักของโครงสร้าง โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักของฐานรากก่อน แล้วจึงค่อยถ่ายน้ำหนักให้ดิน ซึ่งต่างจากฐานรากแบบแผ่ที่ดินจะรับน้ำหนักจากฐานนรากโดยตรง การออกแบบโครงสร้างมาให้มีการตอกเสาเข็ม เนื่องจากดินที่อยู่ตื้นรับน้ำหนักได้น้อย ทำให้ต้องใช้เสาเข็มเพื่อรองรับน้ำหนักของโครงสร้าง ทั้้งนี้การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดินเราถึงต้องทำการออกแบบให้มีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR ให้อยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างโครงสร้างเสาเข็มและฐานราก หากไม่มีการใส่เหล็กเดือยหรือ DOWEL BAR อยู่ในบริเวณรอยต่อของโครงสร้างเสาเข็มและฐานรากก็จะทำให้ตัวโครงสร้างเกิดการทรุดตัวได้ถ้าเกิดภัยภิบัติทางธรรมชาติ หรือ … Read More
ภูมิสยามฯ ร่วมสร้างโรงพยาบาล
ภูมิสยามฯ ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต ตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ร่วมสมทบทุนด้วยการตอกเสาเข็ม เป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาล มูลค่ารวมกว่า 660,000 บาท
ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคาร เสร็จเร็ว ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มได้มาตรฐาน มอก. แนะนำใช้เสาเข็ม BSP-Bhumisiam ครับ
ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคาร เสร็จเร็ว ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มได้มาตรฐาน มอก. แนะนำใช้เสาเข็ม BSP-Bhumisiam ครับ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 … Read More
สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง
สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More