การออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีสัดส่วนยื่น (CANTILEVER LENGTH) ที่ค่อนข้างมาก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากวันนี้ผมเห็นเพื่อนรุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักมากท่านหนึ่งได้โพสต์เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีสัดส่วนยื่น (CANTILEVER LENGTH) ที่ค่อนข้างมาก ผมจึงได้แจ้งกับเค้าไปด้วยความเป็นห่วงถึงสิ่งที่ควรระมัดระวังในการออกแบบโครงสร้างในลักษณะแบบนี้ และ เห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยจึงใคร่ขอนำมาแชร์เป็นความรู้แก่ทุกๆ ท่านด้วยนะครับ จริงๆ แล้วในการออกแบบโครงสร้างที่มีช่วงยื่นมากๆ สิ่งที่จะต้องระมัดระวังนั้นมีหลายเรื่องมากๆ นะครับ เช่น ปัญหาเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้าง (STRUCTURAL STABILITY) เพราะ … Read More
หลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING)
การออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากแบบแผ่ในอาคาร อาจจะต้องประสบพบเจอกับปัญหา ทำให้เราไม่สามารถที่จะทำการวางฐานรากแบบเดี่ยว (ISOLATED SPREAD FOOTING) ได้ตามปกติ ดังนั้นหากเราต้องพบเจอกับกรณีแบบนี้ เราก็อาจจะจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING) เข้ามาใช้ในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานราก เมื่อฐานรากแผ่แบบเดี่ยวนั้นถูกจำกัดไว้ด้วยตำแหน่งของเสาในอาคาร และ เขตพื้นที่ อันอาจจะทำให้เกิดการเยื้องศูนย์ (ECCENTRICITY) ระหว่างจุดศูนย์กลางของพื้นที่ฐานราก และ … Read More
ปัญหาการนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ซึ่งจะเป็นการวางตัวโครงสร้างฐานรากลงไปอยู่บนดินโดยตรงเลย โดยต้องถือว่าฐานรากทั้ง 2 … Read More
สร้างใหม่ ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อฐานราก ที่ได้มาตรฐานสูง
สร้างใหม่ ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อฐานราก ที่ได้มาตรฐานสูง สร้างใหม่ต้องตอกเสาเข็ม เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนักของฐานราก เพราะฐานรากเป็นตัวรับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินดาน ตามที่วิศวกรออกแบบ เพื่อให้การรับน้ำหนัก เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม หากตอกเสาเข็มสั้นเกินไป ไม่ถึงชั้นดินดาน จะทำให้ดินเกิดการทรุดตัวมากเกินไป และเป็นผลให้เสาเข็มทรุดตัวตามไปด้วย ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่ต้องการ … Read More