บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสำหรับสร้างใหม่ หรือต่อเติม 

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสำหรับสร้างใหม่ หรือต่อเติม  ต้องการสร้างอาคารที่ได้มาตรฐานทางวิศวกรรม ฐานรากมีความสำคัญและเสาเข็มต้องได้มาตรฐาน เพราะเป็นส่วนสำคัญในการรับน้ำหนัก ดังนั้นจึงต้องพิจารณามองหาเสาเข็มสปันที่ดีมีคุณภาพ และได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 และมาตรฐาน ISO 9001:2015, ISO 45001:2018 เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ … Read More

การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ให้ลึกถึงระดับมาตรฐาน (BLOW COUNT)

การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม และความยาวของเสาเข็มนั้น ๆ

ประเภทการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงเรื่อง ประเภทของการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อเราได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาน่ะครับ   โดยที่การเก็บตัวอย่างของดินซึ่งได้จากการที่เรานั้นทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันดังต่อไปนี้ครับ   ตัวอย่างของ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้มานำเสนอบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึง MOVING LOAD ในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ในการคำนวณหาค่าต่างๆ เพื่อนำไปคำนวณเพื่อนำค่า MOVING LOAD … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 169