วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตามตัวอย่าง ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ ข้อแม้ ในเบื้องต้นดังต่อไปนี้นะครับ (1) หากความผิดพลาดในการตอกเสาเข็มนั้นเป็นไปตามกรณีนี้ ทางผู้ควบคุมงานจำเป็นที่จะต้องทำการแจ้งปัญหานี้กับทางผู้ออกแบบเสียก่อนนะครับ เพราะ การที่เราจะแก้ไขปัญหาตามวิธีการนี้จะทำได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบฐานรากโดยการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดหมุน (PINNED SUPPORT) หรือ หากทำการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดแน่น … Read More
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากในช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นมีน้องๆ วิศวกรหลายๆ คนเข้ามาปรึกษาและอยากให้ผมให้ ตย ในการคำนวณเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อรับแรงชนิดพลศาสตร์ (DYNAMICS … Read More
เทคนิคง่ายๆ ในการทำงานการขุดดินหรือถมดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ ลองนึกดูดีๆ ว่าในการเริ่มต้นงานก่อสร้างอะไรก็แล้วแต่ ขั้นตอนใดที่พวกเราจะต้องทำกันเป็นอันดับแรกเลย แน่นอนว่าคำตอบส่วนใหญ่ของเพื่อนๆ ก็คือ การขุดดิน หรือ การถมดิน … Read More
เทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูปเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ถือได้ว่าความสำคัญของเทคนิคนี้มีอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียวมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ นั่นก็คือผมจะมาให้คำแนะนำว่าเราไม่ควรที่จะใช้โครงสร้าง คสล ในกรณีที่ทางสถาปนิกเลือกทำการออกแบบให้ในตัวบ้านหรืออาคารนั้นมีการตกแต่งด้วยปูนปั้น … Read More