บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขอเริ่มต้นทำการอธิบายถึงในส่วนแรกก่อน นั่นก็คือ ขั้นตอนในการออกแบบและเตรียมการ สำหรับการทำงานการตอกเสาเข็มนะครับ … Read More

โครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More

วิธีในการใช้งาน SCHMIDT HAMMER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงกระบวนการทำงาน และ วิธีในการใช้งานเจ้า SCHMIDT HAMMER ต่อจากเมื่อวานนะครับ ในการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตด้วยวิธี REBOUND HAMMER TEST หรือที่เราเรียกกันจนคุ้นหูว่า SCHMIDT HAMMER TEST (ดูรูปที 1) เป็นการทดสอบเพื่อที่จะทำการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีตในโครงสร้างแบบไม่ทำลาย (NON-DESTRUCTIVE … Read More

การคำนวณหา ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปเป็นการจัดวางเหล็กเสริมในหน้าตัดโครงสร้างคาน คสล รับแรงดัด โดยที่ในเหล็กที่อยู่ในแถวล่างจะประกอบไปด้วยเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม และ 25 … Read More

1 133 134 135 136 137 138 139 169