สำนวนที่ว่า “It’s raining cat’s and dog’s.”
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เนื่องจากช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นฝนตกในทุกๆ วัน เลยทำให้ผมนึกถึงสำนวนๆ หนึ่งในภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการที่ฝนตก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอนอกเรื่องออกไปจากหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม สักหน่อยนึง ซึ่งสำนวนที่ว่าก็คือ “It’s raining … Read More
ฐานรากแผ่(ต่อ)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สำหรับในโพสต์ล่าสุดของผมเกี่ยวกับเรื่องฐานรากแผ่นั้น ในตอนแรกผมตั้งใจที่จะโพสต์ๆ นั้นเป็นโพสต์สุดท้ายสำหรับช่วงเวลานี้ แต่ พอโพสต์ไปแล้วก็ได้รับผลตอบรับที่ค่อนข้างดี และ ได้มีคำถามต่อเนื่องตามมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ นี้ผมจึงอยากที่จะขอโพสต์ต่อเนื่องเกี่ยวกับฐานรากแผ่ไปก่อนนะครับ ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบคำถามให้แก่เพื่อนวิศวกรที่ได้ถามผมมานั่นเองนะครับ คำถามที่เพื่อนวิศวกรได้สอบถามผมต่อเนื่องมาจากโพสต์ของเมื่อวาน คือ หากเราจะทำการก่อสร้างฐานรากแผ่วางบนดินในบริเวณที่ลาดเชิงเขาซึ่งหมายความว่าลักษณะของชั้นดินจะไม่ใช่เป็นแนวระดับในแนวราบเหมือนกรณีทั่วๆ ไปของการทำฐานรากแผ่นะครับ ในการก่อสร้างฐานรากแผ่วางตัวอยู่บนแนวพื้นที่มีความเอียงลาดนั้น ฐานรากตัวริมที่จะติดกับพื้นที่ลาดเอียงนั้น เราจะต้องตรวจสอบดูว่าระยะจากขอบนอกสุดส่วนบนของฐานราก (ระยะ V … Read More
การออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมได้ขออนุญาตใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตามตัวอย่าง ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ ข้อแม้ ในเบื้องต้นดังต่อไปนี้นะครับ (1) หากความผิดพลาดในการตอกเสาเข็มนั้นเป็นไปตามกรณีนี้ ทางผู้ควบคุมงานจำเป็นที่จะต้องทำการแจ้งปัญหานี้กับทางผู้ออกแบบเสียก่อนนะครับ เพราะ การที่เราจะแก้ไขปัญหาตามวิธีการนี้จะทำได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบฐานรากโดยการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดหมุน (PINNED SUPPORT) หรือ หากทำการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดแน่น … Read More