วิธีในการถ่ายน้ำหนัก ของแผ่นพื้นลงบนคานรองรับทั้ง 4 ด้าน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่เรามีแผ่นพื้นที่มีการถ่าย นน แบบ 2 ทิศทาง โดยประเด็นนั้นอยู่ที่วิธีในการถ่าย นน ของแผ่นพื้นลงบนคานรองรับทั้ง 4 ด้าน นะครับ ก่อนอื่นผมขอเล่าให้ฟังถึงรายละเอียดที่มาที่ไปของประเด็นที่น้องท่านนี้ถามผมมาก่อนนะครับ ประเด็นมีอยู่ว่าน้องวิศวกรท่านนี้ได้ทำการถ่าย นน จากพื้นลงมายังคานที่ทำหน้าที่ีรองรับทั้ง 4 ด้าน แต่ … Read More
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง … Read More
ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT
โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ หากเพื่อนๆ เคยเปิดอ่าน TEXT BOOK หรือ ตำราวิชาการวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง … Read More