“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความและทำการพูดถึงข้อดีและข้อด้อยของการเลือกทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์ๆ นี้ก็จะมีความต่อเนื่องมาจากโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้นะครับ สำหรับข้อดีหลักๆ ก็อย่างเช่น เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นมีขนาดค่อนข้างที่จะเล็กมากๆ ดังนั้นจึงทำให้บุคคลเพียงเดียวก็สามารถที่จะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มได้มากถึง 100 ต้นต่อวันเลยและสืบเนื่องจากเหตุผลข้อนี้เองจึงทำให้การทดสอบโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะไม่เป็นการทำให้เกิดการกีดขวางการทำงานอื่นๆ … Read More
จะต่อเติม หลังบ้าน ทำห้องครัวใหม่ ทางเข้าแคบมาก ที่ตอกก็แคบ จะตอกเสาเข็มได้ไหมคะ?
จะต่อเติม หลังบ้าน ทำห้องครัวใหม่ ทางเข้าแคบมาก ที่ตอกก็แคบ จะตอกเสาเข็มได้ไหมคะ? ตอกได้ครับ เราตอกได้ทุกพื้นที่ โทรปรึกษาเราได้ เพราะเราคือผู้เชี่ยวชาญด้านฐานรากสำหรับงานต่อเติม และเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ของ BSP-Bhumisiam รองรับงานด่วน งานเร่ง งานรีบ ตอกได้ลึกถึงชั้นดินดานลึก … Read More
คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย
คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย คุณสมบัติ คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย ถูกออกแบบมาให้มีคุณสมบัติความลื่นไหลสูงและมีการแยกตัวต่ำ จึงเหมาะสำหรับงานที่ต้องการความสามารถในการไหลเข้าแบบได้ง่ายกว่าคอนกรีตปกติทั่วไป และไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น เช่นงานโครงสร้างอาคารที่มีเหล็กเสริมหนาแน่น เพื่อช่วยลดการเกิดโพรงที่บริเวณโครงสร้างเมื่อถอดแบบ คอนกรีตชนิดนี้มีหลักการออกแบบ ที่ต้องคำนึงถึงทั้งค่าอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ที่เหมาะสม และปริมาณส่วนละเอียดที่เพียงพอ ที่จะทำให้คอนกรีตไหลเข้าแบบได้ง่ายโดยไม่ต้องทำคอนกรีตให้แน่น นอกจากนี้ขนาดโตสุดและขนาดคละของมวลรวม ยังเป็นสิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึงอีกด้วย ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตชนิดนี้ ถูกออกแบบมาให้เหมาะสำหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มีปริมาณเหล็กเสริมในปริมาณมาก โครงสร้างที่มีความหนาค่อนข้างน้อย หรือโครงสร้างเปลือกบาง … Read More
วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ OBSERVATION WELL
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเนื้อหาในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้พูดถึงเรื่อง ผลของระดับน้ำใต้ดิน และผมก็ได้แจ้งไปด้วยว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงวิธีในการที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการตรวจสอบหาค่าของระดับน้ำใต้ดินที่ค่อนข้างให้ผลที่น่าเชื่อถือมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ โดยที่วิธีการแรกที่ผมตั้งใจที่จะนำเอามาหยิบยกเล่าให้เพื่อนๆ ฟังในวันนี้ก็คือ วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ … Read More