บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เพื่อเป็นฐานรากในงานสร้างใหม่ สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้หรือไม่?

เลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เพื่อเป็นฐานรากในงานสร้างใหม่ สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้หรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก ขนย้ายสะดวก สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) เพราะคุณภาพมาตรฐานในการผลิต ด้วยนวัตกรรมแบบใหม่โดยใช้แรงเหวี่ยงในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย และภายในของเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่น … Read More

ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE

ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 ตัน/ต้น … Read More

วิธีการแก้ปัญหา โครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ ครั้งที่ผ่านมานั้นผมเคยได้หยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนบนนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันให้กับเพื่อนๆ ไปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีในวันนี้เป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก เราจะมาดูกันซิว่าการแก้ไขด้วยวิธีการนี้มีข้อดีหรือข้อด้อยอย่างไรนะครับ วิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย … Read More

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็ก (CONCRETE COVERING) มีระยะต่ำสุดที่เท่าไหร่

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต (Concrete Covering) ก็คือระยะของคอนกรีตที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมสัมผัสกับน้ำหรืออากาศโดยตรงเพื่อทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี หรือป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมทำปฏิกิริยากันเหล็กเสริมจนทำให้เกิดสนิมขุม และทำให้โครงสร้างสูญเสียความสามารถในการรับกำลังในที่สุด ทั้งนี้การวัดความหนาของระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต ให้วัดจากผิวด้านนอกของคอนกรีตลึกเข้าไปจนถึงผิวด้านนอกของเหล็กปลอก (ในกรณีที่ไม่มีเหล็กปลอกก็ให้วัดถึงผิวของเหล็กเสริมเส้นนอกสุด) สำหรับระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมนั้น ACI กำหนดให้ระยะช่องว่างน้อยที่สุดระหว่างเหล็กเสริมเท่ากับค่าที่มากกว่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริม DB, 2.5 ซ.ม. และ 1.33 เท่าของขนาดมวลรวมโตสุด โดยเหล็กนอนในคานทั้งหมดจะถูกห่อหุ้มโดยเหล็กปลอก ระยะหุ้มคอนกรีตต่ำสุดที่ … Read More

1 34 35 36 37 38 39 40 169