บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

วิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อช่วงสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์คลิปเพื่อแสดงวิธีในการแก้ปัญหาข้อที่ 6.14 ซึ่งเป็นปัญหาท้ายบทที่ 6 จากหนังสือ DYNAMICS OF STRUCTURES เขียนโดย ANIL K. CHOPRA ซึ่งหนังสือเล่มนี้ที่ผมเลือกนำมาใช้จะเป็นหนังสือฉบับ EDITION ที่ 3 นะครับ   … Read More

แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเรียนรู้กันต่อถึงเรื่อง แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH กันต่อเป็นโพสต์สุดท้ายของช่วงๆ นี้ก่อนที่เราจะขยับไปถึงเรื่องหรือหัวข้ออื่นๆ ต่อไปนะครับ   โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้เล่าให้เพื่อนๆ … Read More

ใช้ เสาเข็มต่อเติม SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคารใหม่ หรือ ฐานรากอาคารใหม่ ได้ไหมครับ

ใช้ เสาเข็มต่อเติม SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคารใหม่ หรือ ฐานรากอาคารใหม่ ได้ไหมครับ ได้ครับ เรามีตัวอย่างการใช้ เสาเข็มต่อเติม เพื่อทำฐานรากสร้างอาคารที่จอดรถ SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบขึ้นมาสำหรับงานต่อเติมในที่แคบที่มีความสูงจำกัด มีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องความสั่นสะเทือนในขณะตอกมีน้อยกว่าเสาเข็มใหญ่ และโอกาศที่จะสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างอาคารด้านข้างมีน้อย จึงสามารถนำเอามาตอกข้างอาคารสูงในลักษณะนี้ได้ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ หากผมมีอาคารที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 2 ชั้น ซึ่งมีค่า คาบการสั่นตามธรรมชาติ หรือ NATURAL PERIOD เท่ากับ 0.20 วินาที และ หากทำการคำนวณหาค่าความถี่ตามธรรมชาติ หรือ NATURAL … Read More

1 72 73 74 75 76 77 78 169