บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม SPUN MICROPILE ที่โรงผลิตไฟฟ้าพระนครใต้ งานที่ต้องการ Safety 100%

เสาเข็ม SPUN MICROPILE ที่โรงผลิตไฟฟ้าพระนครใต้ งานที่ต้องการ Safety 100% สวัสดีครับ วันนี้ Mr.SpunMan ขอนำภาพการตอกเสาเข็ม ที่โรงผลิตไฟฟ้าพระนครใต้ ซึ่งเป็นงาน ที่ต้องการ Safety 100% และใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบข้อสงสัยของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามเอาไว้ในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมกี่ยวกับเรื่องค่า SPT โดยใจความของคำถามก็คือ   “ที่อาจารย์เคยโพสต์ว่าตามปกติในเขตของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหากเราต้องการที่จะให้เสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทานหรือว่า BEARING PILE เราจะต้องเลือกตำแหน่งในการวางปลายของเสาเข็มโดยจะดูจากค่า SPT-N ให้อยู่ที่ประมาณ … Read More

สร้างบ้านใหม่ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้ไหมครับ ตอกแล้วเสียงดัง หรือกระทบบ้านข้างๆไหมครับ?

สร้างบ้านใหม่ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้ไหมครับ ตอกแล้วเสียงดัง หรือกระทบบ้านข้างๆไหมครับ? สร้างบ้านใหม่ในเมือง ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้ค่ะ เพราะเสาเข็มเราสามารถทำงานในที่แคบได้ เข้าซอยแคบ และไม่กระทบกับอาคารข้างเคียง เหมาะกับสร้างบ้านในเมือง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เราพร้อมบริการ – ช่วงนี้งานสร้างบ้านใหม่ … Read More

วิธีการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้มีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวดิ่งไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวราบอย่างแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อก็แล้วกันนะครับ   เริ่มจากการที่เราจะต้องทำการเลือกนำเอาวิธีการออกแบบๆ … Read More

1 83 84 85 86 87 88 89 169