บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกรับพื้นภายในโรงงาน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย

ตอกรับพื้นภายในโรงงาน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ต้องการเสาเข็มสำหรับตอกรับพื้นภายในโรงงาน ที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง รับน้ำหนักได้ปลอดภัย แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า … Read More

คานยื่น (CANTILEVER BEAM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ ผมจะขออนุญาตทำการสมมติว่าเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็น … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D คือ ระยะเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ เพราะ หากให้ระยะนี้น้อยกว่า 3 เท่าของ D จะทำให้แรงเค้นในมวลดินนั้นเกิดการซ้อนทับกัน … Read More

ใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่เราจะทำการเทด้วย LEAN CONCRETE เราจะถือว่าการทำเช่นนี้ไม่ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่

ใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่เราจะทำการเทด้วย LEAN CONCRETE เราจะถือว่าการทำเช่นนี้ไม่ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่ ถ้าหากเราว่ากันตามหลักการทางด้านวิศวกรรมที่ถูกต้องแล้ว การทำงานหล่อคานที่ชั้นล่างนั้นจะอนุญาตให้ทำได้ก็ต่อเมื่อฐานรองรับที่ทำขึ้นเพื่อรับท้องคานนั้นมีความมั่นคง เกิดการทรุดตัวที่ไม่แตกต่างกัน มีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรับ นน ที่จะเกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่การทำงานในตอนต้นไปจนกระทั่งกำลังของคอนกรีตในคานที่ชั้นล่างนี้จะสามารถรับกำลังได้ตามที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบเอาไว้ครับ มีความง่ายต่อการถอดแบบ และ การบ่มคอนกรีต ส่วนสาเหตุของการเลือกใช้การก่อด้วยอิฐบล็อกแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ก็อาจเนื่องด้วยดินอาจจะมีความแข็งแรงมากอยู่แล้ว เช่น ดินที่อยู่ในสถานที่ก่อสร้างนั้นเป็นดินเดิม ไม่ใช่ดินถาม … Read More

1 84 85 86 87 88 89 90 169