บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย แนะนำเสาเข็ม ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และทำงานได้รวดเร็วครับ … Read More

SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – Last 10 Blow Count

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาแนะนำถึงการตรวจสอบความปลอดภัยในการตอกเสาเข็มด้วยวิธี Last 10 Blow Count กันนะครับ โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More

ตอกเสาเข็มไม่กระทบโครงสร้างเดิม ด้วย เสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I Micropile ตอกเสาเข็มในอาคาร

ตอกเสาเข็มไม่กระทบโครงสร้างเดิม ด้วย เสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I Micropile ตอกเสาเข็มในอาคาร ข้อดีของการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ในอาคารนั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างของอาคารเดิม สามารถเข้าตอกในอาคารได้เลย หรือจะตอกในพื้นที่แคบ ก็สะดวกในการเข้าติดตั้ง และเสาเข็มยังทำหน้าที่รับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่ดินโดยตรง เมื่อทำการติดตั้งเสาเข็มเรียบร้อยแล้ว เสาเข็มสามาถรับน้ำหนักได้ทันที และการจะตอกเสาเข็มจะต้องทำการเจาะสำรวจดิน (Soil … Read More

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ?

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? หินชนิดนี้มีชื่อว่า “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกว่า BALLAST STONE นั่นเองนะครับ หินชนิดนี้จะทำหน้าที่ยึดไม้หมอนที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำจากวัสดุที่เป็นเหล็กให้อยู่ในสภาพคงที่โดยให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่ง (DISPLACEMENT) ที่น้อยที่สุด … Read More

1 91 92 93 94 95 96 97 169